วันจันทร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและการควบคุมภายใน

Acc310 การสอบบัญชี

ความเสี่ยงในการสอบบัญชี หมายถึง ความเสี่ยงที่ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นที่ไม่เหมาะสมเมื่องบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ

ความเสี่ยงในการสอบบัญชีประกอบด้วยความเสี่ยงย่อย 3 ประเภท
1. ความเสี่ยงสืบเนื่อง
2. ความเสี่ยงจากการควบคุม
3. ความเสี่ยงจาการตรวจสอบ

การประเมินความเสี่ยง
ความเสี่ยงสืบเนื่องในระดับของงบการเงิน
ความเสี่ยงสืบเนื่องในระดับของยอดคงเหลือในบัญชีและประเถทรายการ
ระดับการเงิน
- ผู้บริหารเป็นบุคคลภายนอก
1. รายได้
2. ค่าใช้จ่าย
- ขายอุปกรณ์เทคโนโลยี
ระดับยอดคงเหลือและรายการบัญชี
1. เงินสด
2. ลูกหนี้
3. สินค้า

นิยาม
ความเสี่ยงสืบเนื่องจะส่งข้อมูลไปยังการควบคุมภายในแล้วการควบคุมภายในจะส่งข้อมูลไปยังความเสี่ยงจากการควบคุม
ความเสี่ยงสืบเนื่องและความเสี่ยงจากการควบคุมก็จะตรวจสอบข้อมูลของความเสี่ยงจากการตรวจสอบ
การควบคุมภายในจะประกอบด้วย
- สภาพแวดล้อมของการควบคุม
- การประเมิณความเสี่ยง
- กิจกรรมการควบคุม
- สารสนเทศและการสื่อสาร
- การติดตาม
ความเสี่ยงจากการตรวจสอบจะมี
- การสุ่มตัวอย่าง
- วิธีการตรวจสอบ
- ข้อบกพร่องของผู้สอบบัญชี
หลักฐานการสอบบัญชี
1.ข้อมูล
1.1 แหล่งข้อมูล
-ภายใน
- ภายนอก
- การปฏิบัติ
- งานของผู้สอบบัญชี
1.2 วิธีการรวบรวม
- การตรวจ เช่น การตรวจเอกสาร ตรวจความมีตัวตน
- การสังเกตการณ์ ลูกค้าเป็นคนตรวจเราคอยสังเกตการณ์
- การคำนวณ คำนวณซ้ำ
- การยืนยันยอด ยืนยันยอดเงินกู้ยืมจากลูกหนี้ ยอดสินค้าคงเหลือที่ฝากขาย
- การสอบถาม วาจา(จากคนภายใน),ลายลักษณ์อักษร(จากคนภายใน)
- การวิเคราะห์เปรียบเทียบ ว่ายอดของปีนี้ยอดขายสูงหรือต่ำลงจากปีที่แล้ว
2. ข้อสรุป
3. ออกรายงานผู้สอบบัญชี
คุณลักษณะที่ดีของข้อมูล
- ความเพียงพอ เป็นไปตามขอบเขต(ขนาดของตัวอย่าง)
- ความเหมาะสม วิธีการได้มาสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ
วิธีการ แหล่งที่มาของหลักฐาน,ช่วงเวลาที่ได้รับหลักฐาน
วัตถุประสงค์ สิ่งที่ผู้บริหารให้การรับรองไว้
การตรวจสอบ การตรวจสอบยอดคงเหลือและรายการ
แผนการสอบบัญชีโดยรวม
- ขอบเขตของงาน
- ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจ
- ความเข้าใจในระบบบัญชีและIC
- ความเสี่ยงและสาระสำคัญ
- ลักษณะ ระยะเวลา ขอบเขต
- การสั่งการ การประสานงาน การควบคุม
แนวการสอบบัญชี เป็นกระดาษทำการที่แสดงถึงลักษณะ ระยะเวลา ขอบเขตในการตรวจสอบรายการและยอดคงเหลือ
วัตถุประสงค์การตรวจสอบ
- วิธีการตรวจ
- เวลาในการตรวจสอบ
- ขอบเขตในการตรวจสอบ
- ดัชนีกระดาษทำการ
- ผู้ตรวจสอบ ผู้ตรวจทาน
แนวการสอบบัญชี-เงินสด
วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ-เงินสด
1.เงินสดมีอยู่จริง
2.เงินสดครบถ้วน

1 ความคิดเห็น:

  1. สรุปแบบห้วนๆ เกินไปครับ บางหัวข้อไม่รู้ว่าต้องการสื่อถึงอะไร ถ้าจะให้ดีควรทำเป็นแผนภาพ แล้วอธิบาย ซึ่งน่าจะทำให้เข้าใจได้ดีกว่านี้นะครับ

    ตอบลบ